อานิสงส์การอุปัฏฐาก
ผู้ใดมีศรัทธาตั้งมั่น มีความรักตน มีศรัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมบำรุงพระตถาคตหรือพระสาวก การบำรุงนี้ ย่อมเยี่ยมกว่าการบำรุงทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์แห่งสัตว์ทั้งปวง เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน
กุรุงคมิคชาดกว่าด้วยการร่วมด้วยช่วยกัน
กุรุงคมิคชาดก เป็นเรื่องของสัตว์ 3 ตัว คือ เต่า นกสตปัตตะ กวาง สัตว์ทั้งสามตัวเป็นเพื่อนรักกัน และเหตุที่ทุกตัวไม่คาดคิดก็เกิดขึ้น เจ้ากวางถูกกับดักติดบ่วงของนายพราน เพื่อนรักอย่างเจ้านกและเจ้าเต่าจะมีวิธการช่วยเหลือเพื่อนกวางได้หรือไม่? อย่างไร?.....
อานิสงส์แห่งความยึดมั่นในศีล
ศีลเป็นเบื้องต้น เป็นที่ตั้งอาศัย เป็นประดุจมารดาผู้ให้กำเนิด คุณงามความดีทั้งหลาย เป็นประมุขแห่งกุศลธรรมทั้งปวง เพราะฉะนั้น นรชนพึงชำระศีลของตนให้บริสุทธิ์เถิด
อานิสงส์ขอน้อยให้มาก
เมื่อสามีสั่งว่า เธอจงให้หนึ่งส่วนนะ นางก็มักจะถวายเกินเป็นสองส่วน ทำให้ได้บุญเป็นอันมาก บุญก็ส่งผลให้เข้าถึงโลกสวรรค์อยู่ยาวนาน
กัฏฐหาริชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษแห่งการแบ่งชนชั้น
ณ ถิ่นกำเนิดพระพุทธศาสนานั้นยังมีการถือชนชั้นกีดกันวรรณะกันอย่างรุนแรงแม้แต่ในหมู่พระประยูรญาติขององค์พระพุทธศาสดาเอง อุษาสางวาระหนึ่งเมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าสอดส่องพระญาณก็ทรงพบว่า ความทุกข์เวทจากวรรณะได้เกิดกับพระญาติแห่งศากยวงศ์
กุสนาฬิชาดก-ชาดกว่าด้วยประโยชน์ของการคบมิตร
ณ บ้านมหาเศรษฐี นามอนาถบิณฑิกะ ได้เกิดเรื่องวุ่นวายขึ้น เมื่ออนาถบิณฑิกะเศรษฐีได้คบหากับมิตรผู้ที่ฐานะต่ำต้อยกว่า และได้แต่งตั้งให้บุรุษผู้นั้นเป็นผู้ดูแลสมบัติทั้งหมดของตน เหล่าบรรดาญาติพวกพ้องของท่านอนาถบิณฑิกะต่างแสดงความไม่พอใจ และขอให้ท่านเศรษฐีเลิกคบหากับมิตรผู้นั้น
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๔)
ความงามยามราตรีอยู่ที่รัศมีแห่งแสงจันทร์ ความงามของดวงตะวันอยู่ที่การทอแสงให้กับสรรพสัตว์และสรรพสิ่งทั้งหลาย
จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๒)
ผู้ประกอบด้วยความอดทนย่อมไม่หลงทำกาละ เมื่อแตกกายทำลายขันธ์ ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
มัจฉาโพธิสัตว์ (บำเพ็ญสัจบารมี)
ตลอดระยะเวลาอันยาวนาน มวลมนุษยชาติต่างปรารถนาจะให้โลกมีสันติสุขอย่างแท้จริง แต่ไม่มีใครรู้ว่า สันติสุขที่แท้จริงอยู่ที่ไหน จะเข้าถึงได้อย่างไร จนกระทั่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงค้นพบว่า การที่จะทำให้เกิดสันติสุขที่แท้จริงนั้น มนุษย์ทุกคนจะต้องปฏิบัติให้เข้าถึงสันติสุขภายใน คือ
พระพุทธคุณ ตอน พระผู้เสด็จไปดีแล้ว
พระสุคต มาจากศัพท์บาลี คือ สุคโต แปลว่า เสด็จไปดี เสด็จไปงาม คือ พระองค์ทรงมีทางเสด็จที่ดีงามอันได้แก่ อริยมรรค และได้เสด็จไปสู่ที่ดีงาม คือ พระนิพพาน โดยทรงดำเนินรุดหน้าไป ไม่หวนกลับคืนมาสู่กิเลสที่ทรงละได้แล้ว