ธรรมกาย กายแห่งการตรัสรู้ธรรม
ธรรมกาย คือ กายแห่งการตรัสรู้ธรรม คำว่า “ธรรมกาย” มีปรากฏหลักฐานทั้งในพระไตรปิฎก และคัมภีร์สำคัญๆ ในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทของเราหลายแห่ง พุทธรัตนะ คือ ธรรมกาย ธรรมรัตนะ คือ ธรรมทั้งหลายที่กลั่นจากหัวใจธรรมกาย สังฆรัตนะ คือ ดวงจิตของธรรมกาย
มหาสุบินของพระพุทธเจ้า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุที่นอนหลับ มีสติตั้งมั่น รู้สึกตัวอยู่ ย่อมหลับเป็นสุข ตื่นเป็นสุข ไม่ฝันร้าย หรือหากฝันก็ฝันแต่เรื่องที่เป็นสิริมงคล เทวดาจะลงปกปักรักษา
วิธีทำตนให้คนอื่นรัก
ชนย่อมกระทำบุคคล ผู้สมบูรณ์ด้วยศีลและทัสสนะ ผู้ตั้งอยู่ในธรรม ผู้พูดคำจริงเป็นปกติ ผู้ทำงานอันเป็นหน้าที่ของตน ให้เป็นที่รัก
ภัทรกัป
ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระวิปัสสีพุทธเจ้า ผู้มีพระจักษุ มีพระสิริ พระสิขีพุทธเจ้า ผู้ทรงอนุเคราะห์แก่สัตว์ทั่วหน้า ขอนอบน้อมแด่พระเวสสภูพุทธเจ้า ผู้ทรงชำระกิเลส มีความเพียร พระกกุสันธพุทธเจ้า ผู้ทรงย่ำยีมารและเสนามาร พระโกนาคมนพุทธเจ้า ผู้มีบาปอันลอยแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์ พระกัสสปพุทธเจ้า ผู้พ้นพิเศษแล้วในธรรมทั้งปวง และขอนอบน้อมแด่พระอังคีรสพุทธเจ้า ผู้เป็นศากยบุตร
มหาเสนาบดี ผู้ยิ่งใหญ่ ตอนที่ 26
ท่านมหาเสนาบดีได้ตอบข้อเสนอที่จะให้สละดินแดนส่วนน้อย เพื่อรักษาพื้นที่ส่วนใหญ่เอาไว้นั้น ตัวท่านคงจะไม่สามารถรับข้อตกลงนี้ได้
เส้นทางจอมปราชญ์ (๑๐)
บุคคลจะนั่งในท่ามกลางอากาศ ในท่ามกลางมหาสมุทร เข้าไประหว่างซอกของภูเขาทั้งหลาย ก็ไม่พ้นประเทศคือแผ่นดิน ที่ความตายไม่พึงครอบงำผู้สถิตอยู่ ย่อมไม่มี
เส้นทางจอมปราชญ์ (๑)
ขุมทรัพย์คือบุญนั้น สามารถให้สมบัติที่น่าใคร่ทุกอย่างได้ มนุษย์และเทวดาทั้งหลายปรารถนาผลใด ผลทั้งปวงย่อมได้ด้วยบุญนิธินั้น
เพื่อนพ้องพี่น้องกัน
ท่านทั้งหลายจงเห็นการทะเลาะวิวาทกันว่า เป็นเหตุแห่งภัย และเห็นการไม่วิวาทกันว่า เป็นความเกษมสำราญแล้ว พึงเป็นผู้พร้อมเพรียง มีความประนีประนอมกันเถิด นี้เป็นพระพุทธานุสาสนี
มหาสติปัฏฐานสูตร
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทางนี้เป็นทางสายเอก ที่เป็นไปเพื่อความหมดจดวิเศษของสัตว์ทั้งหลาย เพื่อก้าวล่วงเสียซึ่งความโศก และความร่ำไร เพื่อความดับไป แห่งทุกข์ และโทมนัส เพื่อบรรลุไญยธรรม เพื่อกระทำพระนิพพานให้แจ้ง ทางนี้คือสติปัฏฐาน ๔
ผู้นำประโยชน์สุขมาให้แก่ชาวโลก
ผู้ใดเป็นคนฉลาด แกล้วกล้า เป็นพหูสูต ทรงธรรม และเป็นผู้ประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรม ผู้เป็นเช่นนั้นท่านเรียกว่า เป็นผู้ยังหมู่ให้งดงาม