เปรตหญิงสาวผู้หิวโหย
ในเปรตวิสัยนั้น ไม่มีกสิกรรม การเลี้ยงโคในเปรตวิสัยก็ไม่มี การค้าขายหรือการซื้อขายด้วยเงินก็ไม่มี สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงกาลล่วงสิ้นไปแล้ว ย่อมยังอัตภาพให้เป็นไปในเปรตวิสัยนั้น ด้วยทานอันเขาให้แล้วในมนุษยโลก
วันวิสาขบูชา 2568 ประวัติวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา Visakha Puja วันวิสาขบูชาวันสำคัญสากลโลก วันพุธที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2568 วิสาขบูชา ย่อมาจากคำว่า “วิสาขปุรณมีบูชา” แปลว่า การบูชาพระในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ (คือเดือน 6) ประวัติ ความเป็นมาของวันวิสาขบูชา
น้ำมหาประลัย
การดื่มน้ำเมานั้น นอกจากได้ชื่อว่าเป็นการล่วงละเมิดศีลข้อ ๕ แล้ว พระพุทธองค์ยังทรงชี้โทษไว้ว่าเป็นอบายมุข คือ ปากทางแห่งความเสื่อม ผู้ดื่มน้ำเมาจะพบกับความหายนะอย่างน้อย ๖ ประการ คือ...
กรรมของการไม่เป็นภรรยาที่ดี
คนพาลทำบาปกรรมทั้งหลาย ก็ไม่รู้สึกตัว ผู้มีปัญญาทราม ย่อมเดือดร้อนเพราะกรรมของตนในภายหลัง ดุจถูกไฟไหม้
กาลกัญชิกาอสูร
บุคคลผู้เป็นคนพาลมีปัญญาทราม ย่อมประพฤติตนเป็นศัตรูต่อตนเอง ย่อมทำกรรมอันลามกที่ทำให้เดือดร้อนในภายหลัง เขาย่อมมีน้ำตานองหน้าร้องไห้คร่ำครวญอยู่ และต้องเสวยผล แห่งวิบากกรรมอันเผ็ดร้อนด้วยความทุกข์ทรมาน ส่วนบุคคลทำกรรมใดแล้ว ไม่เดือดร้อนในภายหลัง มีใจแช่มชื่นเบิกบาน ได้เสวยผลแห่งวิบากกรรมที่ดีนั้น ที่เป็นประโยชน์ทั้งต่อตนและผู้อื่น ควรรีบลงมือกระทำกรรมนั้น
โทษของการห้ามสามีทำบุญ
วันและคืนย่อมล่วงไปๆ ชีวิตย่อมดับไป อายุของสัตว์ทั้งหลายย่อมสิ้นไป เหมือนน้ำในแม่น้ำน้อย ฉะนั้น เมื่อเป็นเช่นนั้น คนพาลทำบาปกรรมอยู่ ย่อมไม่รู้สึกตัว ภายหลังเขาย่อมได้รับทุกข์อันเผ็ดร้อน เพราะบาปกรรมนั้นมีวิบากเลวทราม
โทษของการไม่ต้อนรับแขก
ดิฉันไม่มีที่พึ่ง ไม่มีที่อยู่อาศัย นอนบนเตียงของคนตาย ที่เขาทิ้งไว้ในป่าช้า ดิฉันเป็นผู้ไม่มีภัยแต่ที่ไหนๆ บันเทิงอยู่ เพราะทานของท่านพระสารีบุตร ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ดิฉันมาครั้งนี้เพื่อจะไหว้ท่านพระสารีบุตรผู้เป็นนักปราชญ์
บุพกรรมใดตายไปเป็นเปรตโครงกระดูก
เปรต คือ อดีตมนุษย์หรือเทวดาที่เคยทำบาปหนักได้ชดใช้กรรมส่วนใหญ่ในมหานรก อุสสทนรก และยมโลกแล้วแต่ยังมีเศษกรรมอยู่ทำให้ต้องมาเกิดเป็นเปรตมีความทุกข์ทรมานแสนสาหัส
ทำกรรมอะไรตายแล้วไปเป็นเปรต
เปรตบางจำพวกอาศัยปะปนอยู่กับภพมนุษย์ แต่เป็นภพที่ละเอียดกว่า ซึ่งมนุษย์มองไม่เห็น แต่ไม่ได้หมายความว่าเปรตนั้นไม่มี พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสยืนยันเรื่องเปรตนี้ว่ามีจริง และทรงรู้ถึงการกระทำที่จะนำไปเป็นเปรต ดังมีกล่าวไว้ใน มหาสีหนาทสูตร
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๖ ( ผู้ผดุงความยุติธรรม )
หนุ่มชาวนาตื่นขึ้นมาไม่เจอโคของตน ก็รีบวิ่งออกติดตามรอยเท้าโคไป เมื่อตามไปพบก็ร้องบอกโจรให้นำโคคืนมา ตนจะไม่เอาเรื่องเอาราวอะไร แต่เหตุการณ์กลับตรงข้าม เพราะโจรอ้างว่าโคนี้เป็นของเขา เมื่อไม่ยอมกันทั้งสองเกิดการทะเลาะวิวาท ชาวบ้านจึงพามาหามโหสถให้ช่วยตัดสินว่า ใครเป็นเจ้าของโคตัวนี้กันแน่