อปัณณกธรรมชาดก-ชาดกว่าด้วยข้อปฏิบัติเพื่อป้องกันความผิดพลาด
นครสาวัตถี เนื่องด้วยอัญญเดียรถีย์เหล่านี้ล้วนเป็นคนกลับกลอก พอฟังธรรมก็เกิดศรัทธาประกาศตนเป็นพุทธมามกะ แต่พอพระพุทธศาสดาเสด็จจากไป ก็หันกลับไปนับถือลัทธิเดิมกันทั้งหมดสิ้น
ทุททุภายชาดก ชาดกว่าด้วยกระต่ายตื่นตูม
เจ้ากระต่ายตัวหนึ่งมีความคิดที่ว่าหากแผ่นดินเกิดถล่มขึ้นมาตนควรจะทำอย่างไรดี จู่ ๆ ผลมะตูมลูกหนึ่งก็หล่นจากต้นตกใส่บนหลังคาใบตาลอันเป็นรังของเจ้ากระต่ายเข้าเต็มเปา เสียงดังจากการตกกระทบบวกกับความคิดจดจ่อของมันสร้างความตื่นตระหนกตกใจให้กับเจ้ากระต่ายเป็นยิ่งนัก มันเลยวิ่งหนีสุดชีวิต ทำให้บรรดาสัตว์ป่าทั้งหลายแตกตื่นพากันวิ่งตามๆ กันไปจนเกือบจะตกจากหน้าผาที่สูงชัน
ผิดทางย่อมไม่มีทาง
(ปริพาชกวัจฉโคตร): ข้าแต่ท่านพระโคดม อาชีวก (นักบวชนอกพุทธศาสนานิกายหนึ่ง) บางคนเมื่อตายไปจะทำที่สุดทุกข์ได้มีอยู่บ้างหรือ
พรรณนาพุทธคุณหนุนส่งถึงนิพพาน
เรากล่าวสรรเสริญคุณของพระพุทธเจ้า ว่ามีทั้งส่วนพระองค์ และที่เป็นประโยชน์แก่คนอื่น จึงเป็นผู้ประกอบด้วยปีติในพระพุทธเจ้า เพราะฉะนั้น เราจึงเป็นผู้มีความงดงาม เมื่อเรากล่าวสรรเสริญพระคุณ ชื่อว่าชมเชยพระผู้นำ ผู้ทรงชนะมาร ล่วงเสียซึ่งเดียรถีย์ ครอบงำเดียรถีย์ทั้งสิ้น เพราะฉะนั้น เราจึงเป็นผู้มีความรุ่งเรือง เมื่อเรากล่าวสรรเสริญพระคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ชื่อว่าทำพระองค์ให้เป็นที่รักของหมู่ชน เพราะฉะนั้น เราจึงเป็นผู้น่ารักน่าชื่นชม เหมือนพระจันทร์ในคืนวันเพ็ญ ฉะนั้น
ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 3 ชนะสัจจกนิครนถ์)
พระพุทธเจ้าผู้เป็นพระธรรมราชา ผู้ส่องแสงสว่างไสว ยังไม่เสด็จอุบัติขึ้น เพียงใด ชนทั้งหลายก็พากันบูชาสมณพราหมณ์เหล่าอื่นอยู่เป็นอันมาก เพียงนั้น แต่เมื่อใด พระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้มีพระสุรเสียงอันไพเราะ ได้ทรงแสดงธรรมแล้ว เมื่อนั้น ลาภและสักการะของพวกเดียรถีย์ก็เสื่อมไป
มงคลที่ ๑๐ มีวาจาสุภาษิต - กัลยาณวาทะ
นิครนถ์นาฏบุตร เจ้าลัทธิเดียรถีย์ที่ไม่ชอบใจในพระบรมศาสดา เพราะศรัทธามหาชนของตนเองห่างเหินไป จึงแต่งปัญหาข้อหนึ่งเป็นโอวัฏฏิกสาระ คือปัญหาวนเวียน ไม่มีใครสามารถแก้ได้ ปัญหานี้นิครนถ์ใช้เวลา ๔ เดือน จึงคิดออก และยุให้อภัยราชกุมารเรียนปัญหานั้นจนแตกฉาน เพื่อจะได้ส่งไปโต้วาทะกับพระผู้มีพระภาคเจ้า
ข่าวลือ
เมื่ออยู่ในยุคที่ข่าวลือแพร่สะพัดอย่างเร็ว เราจะจัดการกับมันอย่างไร
สรรเสริญพุทธคุณ บุญส่งถึงนิพพาน
“ข้าแต่พระองค์ผู้นิรทุกข์ พระองค์เท่านั้นเป็นที่พึ่งของบุคคลผู้ว่ายอยู่ในห้วงน้ำ เป็นนาถะของผู้ไม่มีเผ่าพันธุ์ เป็นสรณะของผู้ที่ยังมีภัย และเป็นผู้นำของผู้ต้องการความหลุดพ้น”
ประวัติความเป็นมาของวันมหาปวารณา
กำเนิดวันมหาปวารณา ประวัติความเป็นมาของการทำปวารณาในวันออกพรรษาเกิดขึ้นเมื่อไร ต้องปฏิบัติอย่างไรบ้าง
วิบากกรรมออนไลน์ ดิ่งลงขุมลึกกว่าที่คาดคิด
ในยุคปัจจุบัน มีคนจำนวนไม่น้อยเข้าใจว่า..การด่าว่าพระภิกษุสงฆ์เป็นสิ่งไม่ผิดซ้ำร้ายยังคิดว่า..เป็นการช่วยพระพุทธศาสนาอีกด้วย เพราะเท่ากับเป็นการกำจัดพระไม่ดีให้หมดไป!