อนาถบิณฑิกเศรษฐี (มหาเศรษฐีเทพบุตร)
การถวายวิหารแก่สงฆ์เพื่อหลีกเร้นอยู่ เพื่อความสุข เพื่อเพ่งพิจารณา และเพื่อให้เห็นแจ้ง พระพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ทรงสรรเสริญว่า เป็นทานอันเลิศ เพราะเหตุนั้นแล คนผู้ฉลาด เมื่อเล็งเห็นประโยชน์ตน พึงสร้างวิหารอันรื่นรมย์ให้ภิกษุทั้งหลายเถิด
อนาถบิณฑิกเศรษฐี (ก่อนลมหายเฮือกสุดท้าย)
สังขารทั้งหลายไม่เที่ยงหนอ มีความเกิดขึ้น และเสื่อมไปเป็นธรรมดา ครั้นเกิดขึ้นแล้วย่อมดับไป การเข้าไปสงบระงับสังขารเหล่านั้น นำสุขมาให้
อนาถบิณฑิกเศรษฐี (ทรัพย์หมด แต่ไม่หมดศรัทธา)
บัณฑิตทั้งหลายย่อมไม่ประพฤติกรรมอันเป็นบาป เพราะเหตุแห่งความสุขของตน ถูกทุกข์กระทบแล้ว แม้จะพลาดพลั้งลงไป ก็สงบอยู่ได้ ไม่ละทิ้งธรรม เพราะความรัก และความชัง
อนาถบิณฑิกเศรษฐี (ยอดกัลยาณมิตร)
ผู้ใดถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ว่าเป็นสรณะแล้ว เห็นอริยสัจ ๔ ด้วยปัญญาอันชอบ คือ ทุกข์ และตัณหาอันเป็นแดนเกิดขึ้นแห่งทุกข์ ความก้าวล่วงทุกข์ และมรรคมีองค์ ๘ อันไปจากข้าศึก ให้ถึงพระนิพพานเป็นที่เข้าไประงับทุกข์ นี้แลเป็นสรณะอันเกษม นี้เป็นสรณะอันอุดม บุคคลอาศัยสิ่งนี้แล้ว ย่อมพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้
อนาถบิณฑิกเศรษฐี (บรรลุธรรม)
ผู้ใดยึดเอาพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ว่าเป็นสรณะ ผู้นั้นเห็นอริยสัจ ๔ ด้วยปัญญาอันชอบ สรณะของผู้นั้นเป็นสรณะอันเกษม เป็นสรณะอันสูงสุด บุคคลอาศัยสรณะนี้แล้ว ย่อมหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้
วัดพระธรรมกายสร้างใหญ่ผิดหลักคำสอนพระสัมมาสัมพุทธเจ้าหรือไม่
ก่อนจะสรุปว่า “การสร้างวัดใหญ่” ผิดหรือถูก ก็อยากให้ลองเปิดพระไตรปิฎกศึกษาประวัติการสร้างที่ประทับของพระบรมศาสดาและการสร้างวัดในสมัยพุทธกาลกันเลยดีกว่า จะได้กระจ่างชัดว่า..วัดพระธรรมกายสร้างใหญ่ผิดหรือไม่ ?
การสื่อสารไร้สายสมัยพุทธกาล ตอนที่ 1
พวกเราเคยคิดไหมเอ่ยว่า ในครั้งพุทธกาลเนี่ย พระพุทธศาสาแผ่ขยายไปกว้างขวาง คิดเป็นพื้นที่ก็ใหญ่กว่าประเทศไทยปัจจุบันเสียอีก คณะสงฆ์ก็มีอยู่มากมาย เป็นแสน เป็นล้านองค์ กระจายอยู่เต็มแผ่นดิน แล้วในยุคนั้น โทรศัพท์ก็ไม่มี มือถือก็ไม่มี วิทยุก็ไม่มี โทรทัศน์ก็ไม่มี อินเตอร์เน็ตก็ไม่มี แฟ๊กซ์ก็ไม่มี แล้วเวลาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์เทศน์สอนคำสอนขึ้นมาแต่ละข้อๆ เนี่ย แต่ละเรื่อง คณะสงฆ์ที่กระจายเต็มแผ่นดินจะรู้ได้อย่างไร เพราะในยุคนั้นยังไม่มีพระไตรปิฎกเลยใช่ไหม พระไตรปิฎกบังเกิดขึ้นหลังจากพุทธกาล หลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว พระอรหันต์ 500 รูป จึงสังคายนา ประมวลคำสอนของพระองค์ทั้งหมดมาบรรจุเป็นพระไตรปิฎก
ศิลปะกับศาสนามีความสัมพันธ์กันอย่างไร
เมื่อศาสนาเกิดขึ้นก็ใช้ศิลปะเป็นเครื่องมือในการเผยแพร่ศาสนา หรือแม้กระทั่งการสร้างศาสนสถานขึ้นมา เพื่อให้ศาสนิกชนได้ทำพิธีหรือเคารพบูชา ซึ่งในทุกศาสนาก็มีศิลปะเป็นเครื่องมือ
ปกิณกธรรม สร้างวัดศูนย์กลางการเผยแผ่พุทธธรรม
จงก้าวเดินต่อไปเถิดท่านเศรษฐี ข้างแสนหนึ่ง ม้าแสนหนึ่ง รถเทียมด้วยม้าอัสดรแสนหนึ่งก็ไม่ถึงเสี้ยวที่ ๑๖ แห่งการย่างก้าวเท้าไปหาพระบรมศาสดา ขอท่านจงก้าวเดินต่อไป
สกู๊ปพิเศษ สามเณร สหัสชัย ไว
เรื่องที่เกี่ยวข้องกับสามเณรสหัสชัย ไว