ปุราณอักษรา
เส้นจารเนื้อความพระไตรปิฎกบนแผ่นลานนอกจากจะเป็นหลักฐานแสดงการสืบทอดพุทธธรรมแล้วยังเป็นหลักฐานบ่งบอกถึงวิวัฒนาการอักษรโบราณบนแผ่นดินไทยอีกด้วย
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๑)
ในการนำเสนอสาระโดยย่อของประวัติศาสตร์ที่ยาวนานถึง ๒,๖๐๐ ปี อย่างต่อเนื่องหลายฉบับจนถึงยุคปัจจุบัน ผู้เขียนขออนุโมทนากับท่านผู้อ่านที่ให้ความสนใจติดตามมาโดยตลอด และฉบับนี้ผู้เขียนก็ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว
ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศอินโดนีเซีย
ท่านประธานาธิบดี พลเอกซูฮาร์โต ได้ประกาศให้วันวิสาขบูชาเป็นวันหยุดราชการ ซึ่งชาวพุทธอินโดนีเซีย ถือกันว่า ปีพ.ศ.2527 นี้ เป็นปีครบ 500 ปีที่พระพุทธศาสนาเสื่อมหายไปจากอินโดนีเซีย ตามความเชื่อที่สืบต่อกันมา และปีต่อมาทางการอินโดนีเซีย ได้เขียนคำขวัญบนผืนผ้าขาวว่า “ด้วยความศักดิ์สิทธิ์ของวันวิสาขะ ขอให้ประเทศอินโดนีเซียจงรุ่งเรือง”
อินโดนีเซียนับเป็นดินแดนสำคัญแห่งหนึ่งในประวัติศาสตร์ของพระพุทธศาสนาเพราะเคยเป็นศูนย์กลางที่สำคัญเมื่อราว 1,000 กว่าปี
ประวัติพุทธศาสนาเถรวาทในเวียดนาม
ปี พ.ศ.2506 หลังจากรัฐบาลที่นำโดยนายโงดินห์เดียม (ซึ่งนับถือคริสต์ และกดขี่ชาวพุทธอย่างรุนแรง) พ้นจากอำนาจแล้ว ระยะนั้น เวียดนามใต้ มีวัด 4,766วัด ในจำนวนนั้นเป็นวัดเถรวาท 400กว่าวัด พระภิกษุเถรวาทกว่า 300รูป ส่วนใหญ่มีเชื้อสายเขมร โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่ วัดเชตวัน กรุงโฮจิมินห์ ซิตี้ (ไซ่ง่อน
พระพุทธศาสนาในบังคลาเทศ
บังคลาเทศเคยเป็นอู่แห่งพระพุทธศาสนา มีหลักฐานว่า พระพุทธองค์เสด็จมาประกาศพระพุทธศาสนา และเทศน์โปรดพระสาวกในดินแดนนี้ด้วยพระองค์เอง และยังพบหลักฐานเกี่ยวกับวัด, พระพุทธรูป, พระบรมสารีริกธาตุ, จารึกบนศิลา และแผ่นทองแดง ตามพื้นที่ต่างๆในดินแดนนี้ด้วย
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๙)
สำหรับในฉบับที่แล้วนั้น ผู้เขียนได้พาท่านผู้อ่านให้ย้อนกลับไปรู้จักกับประวัติศาสตร์ของ “พระธรรมจักรศิลา” และความเชื่อมโยงกันของการที่พระพุทธศาสนาได้เริ่มเข้ามาสู่ดินแดนสุวรรณภูมิแห่งนี้ เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ ๑๑ หรือประมาณ ๑,๔๐๐ กว่าปีล่วงมาแล้ว
วิถีใบลาน แห่งน่านนคร
“น่าน” จังหวัดเล็ก ๆ ทางภาคเหนือของไทย ทรงคุณค่าเนื่องด้วยเป็นแหล่งคัมภีร์ใบลานอักษรธรรมจำนวนมาก เมื่อย้อนประวัติศาสตร์ไปตั้งแต่ยุคสร้างเมืองในพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ทำให้พบว่า...
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๒)
ผู้เขียนและคณะได้เรียบเรียงบทความที่สรุปโดยย่อ “เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา” ตั้งแต่ยุคเริ่มต้นจนถึงฉบับนี้ ยุคพุทธศตวรรษที่ ๑๙ นับเป็นเวลา ๑ ปีพอดีที่ได้นำเสนอสู่สายตาของเหล่าสมาชิกผู้ใจบุญทุกท่าน และเชื่อว่าคงเกิดภาพและความเข้าใจมากขึ้น ซึ่งผู้เขียนและคณะต่างปลื้มปีติที่ได้ประมวลเรื่องราวดี ๆ นี้ แล้วนำเสนอแด่ทุกท่านเป็นธรรมทาน
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก